ประมวณภาพ

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

เนื้อหาที่ได้เรียน/ความรู้ที่ได้รับ

- การทำมายแมพ เวลาเราจะแบ่งอะไรควรมีเกณฑ์ในการแบ่ง เช่น ลักษณะของต้นไม้ สี รูปร่าง ขนาด
-อาจารย์ให้เพื่อนออกมาร้องเพลงคณิตศาสตร์จากตัวเราเองที่เคยมีประสบการณ์ผ่านมา
 อ.นิตยา ประพฤติกิจ. 2541 : 17-19
1. การนับ (Counting) เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข เช่น ตัวเลข การนับเลขปากเปล่า
2. ตัวเลข (Number)  เป็นตัวเลขที่เด็กเห็นในชีวิตประจำวันเช่น การแทนค่า ลำดับที่
3. การจับคู่ (Matching) เด็กรู้จักสัญลักษณ์ต่างๆ การจับคู่สัญลักษณ์กับจำนวน สัญลักษณ์กับสัญลักษณ์
4. การจัดประเภท(Clasification) จัดประเภทหรือการหาเกณฑ์ในการจัดประเภทว่ามีความแตกต่างหรือเหมือนกันในเรื่องใด
5. การเปรียบเทียบ(Comparing) ความสัมพันธ์ระหว่าสิ่งของสองสิ่งหรือมากกว่า รู้ค่าจำนวนสิ่งของสองสิ่ง รู้จักใช้คำศัพย์ สั้นกว่า หนักกว่า
6. การจัดลำดับ(Ordering) การจัดบล็อค 5 แท่ง ที่มีความยาวเท่า ๆ กัน ให้เรียงลำดับจากสูงไปต่ำ หรือยาวไปสั้น
7. รูปทรงและเนื้อหา (Shape and Space) เราให้เด็กเปรียบเทียบพื้นที่ด้วยสายตาก่อน แล้วจึงจัดประสบการณ์ให้เด็กรู้จักกับรูปร่างรูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ทรงกลม
8. การวัด (Measurement) ระยะทาง ปริมาณ น้ำหนัก ปริมาณเนื้อที่
9. เซต (Set) เซตของจานอาหาร
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning) การทำให้เด็กจดจำรูปแบบลวดลายและพัฒนาการจำแนกด้วยสายตา ฝึกสังเกตุ ฝึกทำตาม
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้วยปริมาณ (Conservation)

เยาวพา เดชะคุป (2542 : 81-82)
1. การจัดกลุ่มหรือเซต การจับคู่ การจับคู่สิ่งของรวมกลุ่ม
2.จำนวน 1-10 จำนวนคู่-คี่
3. ระบบจำนวน และแต่ละข้อของตัวเลข
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ เช่น เซตรวม การแยกเซต การจับคู่ผลไม้
5. คุณสามบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม (Properties OF Math)
6. ลำดับสำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์ ได้แก่ ประโยชน์คณิตศาสตร์ที่แสดงถึง จำนวน ปริมาณ คุณภาพต่างๆ เช่น มาก-น้อย สูง-ต่ำ
7. การวัด (Measurement) การวัดสิ่งของที่เป็นของเหลว เงินตรา อุณหภูมิ
8. รูปทรงเลขาคณิต การเปรียบเทียบรูปทรง ขนาด ระยะทาง
9. สถิติและกราฟ การหาความสัมพันธ์และนำมาเปรียบเทียบ นำมาอ่านด้วยการฟ







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น